ตัวอักษรญี่ปุ่นฮิรางานะ (Hiragana) คาตาคานะ (Katakana) 46 ตัว

ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นกับครูภาษาญี่ปุ่นจะได้เรียนตัวอักษรในภาษาญี่ปุ่น ซึ่งมีทั้งหมด 3 แบบด้วยกัน โดยทั้ง 3 แบบนี้เรียกว่า ตัวอักษรฮิรางานะ, ตัวอักษรคาตากานะและตัวอักษรคันจิ

อักษรญี่ปุ่นมี 3 แบบ ฮิรางานะ คาตาคานะ คันจิ

ตัวอักษรฮิรางานะ (Hiragana)

อักษรฮิรางานะ หรืออักษรภาพ มีพยัญชนะ 10 แถว 46 ตัวอักษร เช่น あ い う え お

ในภาษาญี่ปุ่นมีสัญลักษณ์แทนเสียงหลักทั้งหมด 46 เสียง มีเสียงสระ 5 เสียง ได้แก่ あ(อะ), い(อิ), う(อุ), え(เอะ), お(โอะ) โดยปกติอักษรฮิรางานะจะใช้เขียนคำที่เป็นภาษาญี่ปุ่นดั้งเดิม


(a)
อะ

(i)
อิ

(u)
อุ

(e)
เอะ

(o)
โอะ

(ka)
คะ

(ki)
คิ

(ku)
คุ

(ke)
เคะ

(ko)
โคะ

(ga)
กะ

(gi)
กิ

(gu)
กุ

(ge)
เกะ

(go)
โกะ

(sa)
ซะ

(shi)
ชิ

(su)
ซุ

(se)
เซะ

(so)
โซะ

(za)
ซะ

(ji)
จิ

(zu)
ซุ

(ze)
เซะ

(zo)
โซะ

(ta)
ทะ

(chi)
จิ

(tsu)
ทสึ

(te)
เทะ

(to)
โทะ

(da)
ดะ

(ji)
จิ

(zu)
ซุ

(de)
เดะ

(do)
โดะ

(na)
นะ

(ni)
นิ

(nu)
นุ

(ne)
เนะ

(no)
โนะ

(ha)
ฮะ

(hi)
ฮิ

(fu)
ฟุ

(he)
เฮะ

(ho)
โฮะ

(ba)
บะ

(bi)
บิ

(bu)
บุ

(be)
เบะ

(bo)
โบะ

(pa)
ปะ

(pi)
ปิ

(pu)
ปุ

(pe)
เปะ

(po)
โปะ

(ma)
มะ

(mi)
มิ

(mu)
มุ

(me)
เมะ

(mo)
โมะ

(ya)
ยะ

(yu)
ยุ

(yo)
โยะ

(ra)
ระ

(ri)
ริ

(ru)
รุ

(re)
เระ

(ro)
โระ

(wa)
วะ

(wo)
โอะ

(n/m)
อึน

ตัวอักษรฮิรางานะ เสียงขุ่น

ตัวอักษรฮิรางานะ เสียงขุ่น เรียกว่า だくおん (Daku on | ดะคุอน) คือการใส่เครื่องหมายลงบนอักษรฮิรางานะเพื่อสร้างพยัญชนะเสียงใหม่ ตัวอักษรฮิรางานะเสียงขุ่นมีทั้งหมด 25 ตัว ใช้เครื่องหมายที่ต่างกัน 2 แบบ คือ

  • 濁点 (Dakuten) 
  • 半濁点 (Handakuten) 

ต่อไปเรามาดูการเปลี่ยนเสียงด้วยเครื่องหมายเหล่านี้กัน

濁点 (だくてん | Dakuten | ดาคุเตง) คือเครื่องหมาย ขีดเล็กๆ 2 ขีด ที่ใส่บนมุมขวาบนของตัวอักษรฮิรางานะ เราอาจเรียกเครื่องหมายนี้ว่า てんてん (Ten ten | เตงเตง) ก็ได้ ทำหน้าที่เปลี่ยนเสียงพยัญชนะดังต่อไปนี้

เปลี่ยนเสียง H → B

เมื่อเติมเครื่องหมาย 濁点 (dakuten) ลงไป เสียง h จะกลายเป็นเสียง b


(ba)
บะ

(bi)
บิ

(bu)
บุ

(be)
เบะ

(bo)
โบะ

เปลี่ยนเสียง K → G

เมื่อเพิ่มเครื่องหมาย 濁点 (dakuten) เข้าไป เสียง k จะกลายเป็นเสียง g


(ga)
กะ

(gi)
กิ

(gu)
กุ

(ge)
เกะ

(go)
โกะ

เปลี่ยนเสียง S → Z

เมื่อเติมเครื่องหมาย 濁点 (dakuten) ลงไป เสียง s จะกลายเป็นเสียง Z (ยกเว้นอยู่หนึ่งตัวได้แก่ เสียง shi เมื่อเติม 濁点 (dakuten) เข้าไปจะกลายเป็นเสียง ji)


(za)
ซะ

(ji)
จิ

(zu)
ซุ

(ze)
เซะ

(zo)
โซะ

เปลี่ยนเสียง T → D

เมื่อเติมเครื่องหมาย 濁点 (dakuten) เข้าไป เสียง t จะกลายเป็นเสียง d


(da)
ดะ

(ji)
จิ

(zu)
ซุ

(de)
เดะ

(do)
โดะ

หมายเหตุ : และ แทบจะไม่ได้ใช้แทนเสียง ji และ zu เลย ดังนั้นให้ใช้ตัว และ แทน

半濁点 (Handakuten | ฮันดาคุเตง)  คือ เครื่องหมายวงกลมเล็กๆ ไว้ที่มุมขวาบนของตัวอักษร เราอาจเรียกเครื่องหมายนี้ว่า まる (maru | มารุ) ก็ได้ ทำหน้าที่เปลี่ยนเสียงพยัญชนะดังต่อไปนี้

เปลี่ยนเสียง H → P

เมื่อเติมเครื่องหมาย 半濁点 (handakuten) เข้าไป เสียง h จะกลายเป็นเสียง p


(pa)
ปะ

(pi)
ปิ

(pu)
ปุ

(pe)
เปะ

(po)
โปะ

ตัวอักษรคาตาคานะ (Katakana)

ใช้เขียนทับคำศัพท์ที่มาจากภาษาต่างประเทศ เช่น メッセージ (Messēji | ข้อความ) และ コンピューター (kompyu-ta- | คอมพิวเตอร์)

ตัวอักษรคาตากานะ (Katakana) นี้เป็นชุดตัวอักษรที่ใช้น้อยที่สุดในภาษาญี่ปุ่น

ตัวอักษรคาตากานะ (Katakana), ฮิรางานะ (Hiragana) และฟูริงานะ (Furigana) (ฮิรางานะที่มีขนาดเล็ก และเขียนถัดจากอักษรคันจิเพื่อแสดงให้เห็นว่าคันจิตัวนั้นอ่านว่าอย่างไร) เราเรียกรวมกันว่า “คานะ”


(a)
อะ

(i)
อิ

(u)
อุ

(e)
เอะ

(o)
โอะ

(ka)
คะ

(ki)
คิ

(ku)
คุ

(ke)
เคะ

(ko)
โคะ

(ga)
กะ

(gi)
กิ

(gu)
กุ

(ge)
เกะ

(go)
โกะ

(sa)
ซะ

(shi)
ชิ

(su)
ซุ

(se)
เซะ

(so)
โซะ

(za)
ซะ

(ji)
จิ

(zu)
ซุ

(ze)
เซะ

(zo)
โซะ

(ta)
ทะ

(chi)
จิ

(tsu)
ทสึ

(te)
เทะ

(to)
โทะ

(da)
ดะ

(ji)
จิ

(zu)
ซุ

(de)
เดะ

(do)
โดะ

(na)
นะ

(ni)
นิ

(nu)
นุ

(ne)
เนะ

(no)
โนะ

(ha)
ฮะ

(hi)
ฮิ

(fu)
ฮุ

(he)
เฮะ

(ho)
โฮะ

(ba)
บะ

(bi)
บิ

(bu)
บุ

(be)
เบะ

(bo)
โบะ

(pa)
ปะ

(pi)
ปิ

(pu)
ปุ

(pe)
เปะ

(po)
โปะ

(ma)
มะ

(mi)
มิ

(mu)
มุ

(me)
เมะ

(mo)
โมะ

(ya)
ยะ

(yu)
ยุ

(yo)
โยะ

(ra)
ระ

(ri)
ริ

(ru)
รุ

(re)
เระ

(ro)
โระ

(wa)
วะ

(wo)
โอ๊ะ

(n/m)
อึน

ตัวอักษรคาตาคานะ เสียงขุ่น

ตัวอักษรคาตาคานะ เสียงขุ่น คล้ายกับตัวอักษรฮิรางานะเสียงขุ่น คือ การนำเครื่องหมาย 濁点 (Dakuten) และ 半濁点 (Handakuten) ใส่ลงบนมุมขวาด้านบนของตัวอักษรคาตาคานะ มีการเปลี่ยนเสียงเหมือนตัวอักษรฮิรางานะทุกอย่าง แค่เปลี่ยนจากอักษรฮิรางานะเป็นคาตาคานะเท่านั้น

ด้านล่างเป็นคาตาคานะที่ถูกเปลี่ยนเสียงโดยการใส่เครื่องหมาย 濁点 (Dakuten) 20 ตัว


(ga)
กะ

(gi)
กิ

(gu)
กุ

(ge)
เกะ

(go)
โกะ

(za)
ซะ

(ji)
จิ

(zu)
ซุ

(ze)
เซะ

(zo)
โซะ

(da)
ดะ

(ji)
จิ

(zu)
ซุ

(de)
เดะ

(do)
โดะ

(ba)
บะ

(bi)
บิ

(bu)
บุ

(be)
เบะ

(bo)
โบะ

ตารางด้านล่างเป็นตัวอักษรคาตาคานะที่เปลี่ยนเสียงโดยการใส่เครื่องหมาย 半濁点 (Handakuten) 5 ตัว


(pa)
ปะ

(pi)
ปิ

(pu)
ปุ

(pe)
เปะ

(po)
โปะ

ตัวอักษรคันจิ

ตัวอักษรที่มีลักษณะเหมือนคำที่มาจากภาษาจีน แต่คนญี่ปุ่นจะนำมาใช้ควบคู่กับตัวอักษรฮิรางานะ หรือ คาตาคานะ

ตัวอักษรคันจิจะแตกต่างจากอักษรคาตากานะและฮิรางานะ เพราะอักษรคันจิไม่ใช่ระบบที่นำตัวอักขระหลายตัวมาประกอบกันเพื่อสร้างเสียงหรือคำพูด ตัวอักษรคันจิเพียงตัวเดียวก็สามารถเป็นคำหนึ่งคำได้ ตัวอย่างตัวอักษรคันจิ เช่น 日本語 (Nihongo | ภาษาญี่ปุ่น)

ข้อควรรู้ : เนื่องจากประวัติศาสตร์ที่ซับซ้อนของตัวอักษรคันจิ ทำให้วิธีการอ่านคันจิโดยทั่วไปจะมีอยู่อย่างน้อยสองวิธีคือ

  • อ่านแบบองโยมิ (onyomi l การอ่านแบบภาษาจีนดั้งเดิม)
  • อ่านแบบคุนโยมิ (kunyomi l อ่านแบบพ้องเสียงกับคำศัพท์ญี่ปุ่นที่มีอยู่เดิม)

ยกตัวอย่างเช่น คำว่า อ่านว่า “fu” ซึ่งเป็นการอ่านแบบองโยมิ และอ่านว่า “chichi” หากอ่านแบบคุนโยมิ เป็นต้น

ตัวอักษรโรมันจิ

โรมันจิไม่ใช่อักษรญี่ปุ่น แต่เป็นอักษรละตินที่ใช้เทียนเสียงภาษาญี่ปุ่นเพื่อช่วยให้เราเรียนภาษาญี่ปุ่นได้ง่าย

เมื่อรู้วิธีอ่านตัวอักษรญี่ปุ่นแล้ว การอ่านภาษาญี่ปุ่นจึงทำได้ง่ายขึ้น ให้เริ่มอ่านคำญี่ปุ่นง่ายๆ ก่อน เช่น

แน่นอนว่ายังมีบทความให้ความรู้เกี่ยวกับภาษาญี่ปุ่นอีกมากมายบนเว็บไซต์ของเรา เมื่ออ่านบทความแล้ว อย่าลืมทำแบบฝึกหัดเพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจภาษาญี่ปุ่นในหัวข้อที่ได้เรียนไปแล้ว เพื่อดูว่าเรามีความเข้าใจในหัวข้อนั้นๆ มากน้อยแค่ไหนกันด้วยนะครับ

อัพเดทล่าสุด: